ผู้บริหาร อาจารย์ และบุคลากรภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม
หัวหน้าฝ่ายช่วยวิชาการ   นางนงคราญ ไชยวงค์ (ชำนาญการพิเศษ)
หัวหน้าฝ่ายช่วยวิชาการ นางนงคราญ ไชยวงค์ (ชำนาญการพิเศษ)
Mrs. Nongkhran Chaiwong

-

Room: 115
Telephone: +66-53-943401
Email: nongkhran.ch@cmu.ac.th, ch.nongkhran@gmail.com


Education Background

วท.บ. เคมี สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2540
วท.ม. เคมีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2550



Job Description/Responsibility

ความเชี่ยวชาญ ชำนาญพิเศษ
1. การวิเคราะห์สารตัวอย่างที่เป็นของเหลวและก๊าซ ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี
2.  การวิเคราะห์ขนาดอนุภาคด้วยเครื่องวิเคราะห์ขนาดอนุภาคแบบการเลี้ยวเบนเลเซอร์
3. การวิเคราะห์พื้นที่ผิวและรูพรุนด้วยเครื่องวิเคราะห์พื้นที่ผิวและรูพรุน
4. การวิเคราะห์โลหะหนักด้วยเครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรโฟโตมิเตอร์



Experience & Skill

1.คณะผ้ตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 คำสั่งแต่งตั้งคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ 478/2552 สั่ง ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2552 วาระ 2 ปี

2. คณะผ้ตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 คำสั่งแต่งตั้งคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ 690/2554 สั่ง ณ วันที่ 22 กันยายน 2554 ตั้งแต่ 26 มิถุนายน 2554 ถึง 25 มิถุนายน 2556

3.คณะผ้ตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 คำสั่งแต่งตั้งคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ 470/2556 ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2556 (7 มิถุนายน 2556 ถึง 27 พฤษภาคม 2558)

4.คณะผ้ตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 : การตรวจติดตามคุณภาพภายใน หัวข้อการทดสอบหาปริมาณ As,Cu,Fe,Mn,Pb และ Zn ในน้ำประปาและน้ำบาดาลเพื่อการบริโภคโดยเทคนิค ICP-OES 
ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 



Portfolio and Researching

1. การพัฒนากระบวนการย้อมสีธรรมชาติสำหรับอุตสาหกรรมครอบครัว, นักวิจัย
2. การลดปริมาณฟลูออไรด์โดยใช้ดินขาว, หัวหน้าโครงการ
3. การพัฒนากระบวนการย้อมสีธรรมชาติแบบพหุสำหรับอุตสาหกรรมครอบครัว, นักวิจัย
4. การพัฒนาการย้อมสีธรรมชาติสำหรับเส้นใยพืช, นักวิจัย
5. การศึกษากระแสวิทยาของดินขาว, นักวิจัย
6. นงค์นุช เรืองจิตต์,ดรรชนี พัทธวรากร และนงคราญ ไชยวงค์, 2554 “การเพิ่มมูลค่าก๊าซชีวภาพและการผลิตก๊าซสังเคราะห์ ด้วยเทคนิคพลาสมาแบบไดอิเลคทริกดีสชาร์จ”
7.นงคราญ ไชยวงค์, 2555 “การพัฒนากระดาษสาสำหรับการกรอง”
8. ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง, 2555 “การพัฒนาสิ่งทอย้อมสีธรรมชาติเพื่อเพิ่มสมบัติการต้านแบคทีเรีย”โดย อ.ดร.ศันศนีย์ คำบุญชู เป็นหัวหน้าโครงการ 
9.ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง, 2556 “โครงการออกแบบและสร้างเครื่องปฏิกรณ์ไฮโดรเทอร์มอลอย่างง่ายสำหรับใช้สังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์ชนิด ZSM-5 จากกากของเสียสแลคและการทดสอบความว่องไวในการเร่งปฏิกิริยารีฟอร์มมิง”  โดย อ.ดร. นงค์นุช เรืองจิตต์ หัวหน้าโครงการ

10.ผู้ร่วมโครงการวิจัย, 2558 “การพัฒนากระเบื้องมุงหลังคามวลเบาจากกากเหลือทิ้งอุตสาหกรรม” โดย อ.ดร. วรพงษ์ เทียมสอน หัวหน้าโครงการ 
11.ผู้ร่วมโครงการวิจัย, 2558 “การพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ซีโอไลต์ชนิด ZSM-5 ที่สังเคราะห์ได้จากกากของเสียสแลคสำหรับใช้ในตัวเร่งปฏิกิริยารีฟอร์มมิง” โดย ผศ.ดร.นงค์นุช เรืองจิตต์ หัวหน้าโครงการ 
12. ผู้ช่วยนักวิจัย, 2559 เรื่อง “การสังเคราะห์ผงซิลิกาและนาโนซิลิกาจากขี้เถ้าชานอ้อย” โดย ผศ.ดร. อภินนท์ นันทิยา หัวหน้าโครงการ โครงการวิจัยจากบริษัท มิตรผล จำกัด (มหาชน)