Personal / Psesonal Detail

หัวหน้าฝ่ายช่วยวิชาการ   นางนงคราญ ไชยวงค์ (ชำนาญการพิเศษ)

Mrs. Nongkhran Chaiwong

-

Room: 115
Telephone: +66-53-943401
Email: nongkhran.ch@cmu.ac.th, ch.nongkhran@gmail.com


Education Background

วท.บ. เคมี สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2540
วท.ม. เคมีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2550



Job Description/Responsibility

ความเชี่ยวชาญ ชำนาญพิเศษ
1. การวิเคราะห์สารตัวอย่างที่เป็นของเหลวและก๊าซ ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี
2.  การวิเคราะห์ขนาดอนุภาคด้วยเครื่องวิเคราะห์ขนาดอนุภาคแบบการเลี้ยวเบนเลเซอร์
3. การวิเคราะห์พื้นที่ผิวและรูพรุนด้วยเครื่องวิเคราะห์พื้นที่ผิวและรูพรุน
4. การวิเคราะห์โลหะหนักด้วยเครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรโฟโตมิเตอร์



Experience & Skill

1.คณะผ้ตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 คำสั่งแต่งตั้งคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ 478/2552 สั่ง ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2552 วาระ 2 ปี

2. คณะผ้ตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 คำสั่งแต่งตั้งคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ 690/2554 สั่ง ณ วันที่ 22 กันยายน 2554 ตั้งแต่ 26 มิถุนายน 2554 ถึง 25 มิถุนายน 2556

3.คณะผ้ตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 คำสั่งแต่งตั้งคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ 470/2556 ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2556 (7 มิถุนายน 2556 ถึง 27 พฤษภาคม 2558)

4.คณะผ้ตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 : การตรวจติดตามคุณภาพภายใน หัวข้อการทดสอบหาปริมาณ As,Cu,Fe,Mn,Pb และ Zn ในน้ำประปาและน้ำบาดาลเพื่อการบริโภคโดยเทคนิค ICP-OES 
ศูนย์บริการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 



Portfolio and Researching

1. การพัฒนากระบวนการย้อมสีธรรมชาติสำหรับอุตสาหกรรมครอบครัว, นักวิจัย
2. การลดปริมาณฟลูออไรด์โดยใช้ดินขาว, หัวหน้าโครงการ
3. การพัฒนากระบวนการย้อมสีธรรมชาติแบบพหุสำหรับอุตสาหกรรมครอบครัว, นักวิจัย
4. การพัฒนาการย้อมสีธรรมชาติสำหรับเส้นใยพืช, นักวิจัย
5. การศึกษากระแสวิทยาของดินขาว, นักวิจัย
6. นงค์นุช เรืองจิตต์,ดรรชนี พัทธวรากร และนงคราญ ไชยวงค์, 2554 “การเพิ่มมูลค่าก๊าซชีวภาพและการผลิตก๊าซสังเคราะห์ ด้วยเทคนิคพลาสมาแบบไดอิเลคทริกดีสชาร์จ”
7.นงคราญ ไชยวงค์, 2555 “การพัฒนากระดาษสาสำหรับการกรอง”
8. ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง, 2555 “การพัฒนาสิ่งทอย้อมสีธรรมชาติเพื่อเพิ่มสมบัติการต้านแบคทีเรีย”โดย อ.ดร.ศันศนีย์ คำบุญชู เป็นหัวหน้าโครงการ 
9.ผู้ร่วมโครงการวิจัยเรื่อง, 2556 “โครงการออกแบบและสร้างเครื่องปฏิกรณ์ไฮโดรเทอร์มอลอย่างง่ายสำหรับใช้สังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์ชนิด ZSM-5 จากกากของเสียสแลคและการทดสอบความว่องไวในการเร่งปฏิกิริยารีฟอร์มมิง”  โดย อ.ดร. นงค์นุช เรืองจิตต์ หัวหน้าโครงการ

10.ผู้ร่วมโครงการวิจัย, 2558 “การพัฒนากระเบื้องมุงหลังคามวลเบาจากกากเหลือทิ้งอุตสาหกรรม” โดย อ.ดร. วรพงษ์ เทียมสอน หัวหน้าโครงการ 
11.ผู้ร่วมโครงการวิจัย, 2558 “การพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ซีโอไลต์ชนิด ZSM-5 ที่สังเคราะห์ได้จากกากของเสียสแลคสำหรับใช้ในตัวเร่งปฏิกิริยารีฟอร์มมิง” โดย ผศ.ดร.นงค์นุช เรืองจิตต์ หัวหน้าโครงการ 
12. ผู้ช่วยนักวิจัย, 2559 เรื่อง “การสังเคราะห์ผงซิลิกาและนาโนซิลิกาจากขี้เถ้าชานอ้อย” โดย ผศ.ดร. อภินนท์ นันทิยา หัวหน้าโครงการ โครงการวิจัยจากบริษัท มิตรผล จำกัด (มหาชน) 




Contact Us
Department of Industrial Chemistry, Faculty of Science, Chiang Mai University
239 Huaykaew Road, Tumbol Suthep Amphur Muang, Chiang Mai 50200
Phone. +6653-943405, +6653-943401
โทรสาร. +6653-892262
Facebook: iccmuoffice